Factors Related to Executive Functions in Preschool-Aged Children

Author

Duangruetai Seamkhumhom

Boromarajonani college of nursing Jakkriraj

Apawan Nookong, Ph.D. (NURSING)

Somsiri Rungamornrat, Ph.D. (NURSING)

Nuanchan Chutabhakdikul Ph.D. (NEUROSCIENCE)

Abstract

Objective: This study was explore executive functions of preschool-aged children, to examine the relationships between, receptive language development, parenting behaviors, parental stress, and executive functions of preschool-aged children.

Design: Correlational study design.

วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปกครองและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 100 คู่ ที่เข้ารับบริการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล 3 แห่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครอง แบบประเมินความเครียดของผู้ปกครอง แบบประเมินพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหารในเด็กก่อนวัยเรียนและคัดกรองพัฒนาการเด็กด้วยคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) วิเคราะห์ความสัมพันธ์พัฒนาการด้านภาษากับการคิดเชิงบริหารด้วยสถิติ Mann Whitney U test และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กและความเครียดของผู้ปกครองกับการคิดเชิงบริหารด้วยสถิติ Spearman’s correlation

Results: Preschool-aged children participating in the study displayed a very high standardised T score for executive functions (M = 61.59, SD = 8.18). Their receptive and expressive language development was in positive correlation with their executive functions (Z = 3.36 and 5.059, p < .001, respectively). The parents’ punitive/corporal behaviour was positively correlated with the children’s executive functions (r = .27, p < .05), whereas the parents’ stress was negatively correlated with the children’s executive functions (r = -.44, p < .01).

สรุปและข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางสุขภาพควรร่วมมือกับครู/ผู้ดูแลส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดเชิงบริหารและวิธีการส่งเสริมการคิดเชิงบริหารของเด็ก ครู/ผู้ดูแลและผู้ปกครองควรได้รับการสนับสนุนให้คัดกรองพัฒนาการเด็กได้ และบุคลากรทางสุขภาพควรประเมินพฤติกรรรมการเลี้ยงดูและความเครียดของผู้ปกครองเมื่อพาเด็กมารับบริการสุขภาพ

Method

Correlational study design

Journal

The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council

Year 2019

Link for more information: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/191264

Share :

Facebook
Twitter
LinkedIn

Related Posts :